Publication:
บอมเบย์: ภาพยนตร์สะท้อนความรุนแรง ของชุมชนมุสลิมในการจลาจลในนครบอมเบย์ (ค.ศ.1992 -1993)?

dc.contributor.authorสุกัญญา บำรุงสุข
dc.contributor.authorSukanya Bamrungsuken
dc.contributor.editorนิภาพร รัชตพัฒนากุล
dc.contributor.editorNipaporn Ratchatapattanakulen
dc.coverage.temporal1992-1993
dc.date.accessioned2023-12-16T09:14:41Z
dc.date.available2023-12-16T09:14:41Z
dc.date.issued2014
dc.date.issuedBE2557
dc.description.abstractภาพยนตร์เรื่อง บอมเบย์ (Bombay) ที่ออกฉายในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1995 เป็นภาพยนตร์อินเดียเรื่องแรกที่นำปัญหาการจลาจลทางเชื้อชาติในนครบอมเบย์ (หรือมุมไบในปัจจุบัน) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงต้นเดือนธันวาคม ค.ศ. 1992 ถึงกลางเดือนมกราคม ค.ศ. 1993 มาเป็นแกนหลักของเรื่อง ภาพยนตร์นี้แม้จะได้รับคำชมเชยว่าสนับสนุนแนวคิดฆราวาสนิยม (secularism) และการสมานฉันท์ปรองดองระหว่างชุมชนฮินดูกับมุสลิม แต่นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งทั้งชาวอินเดียและชาวต่างชาติมีความเห็นว่า นำเสนอภาพความรุนแรงของชาวมุสลิมมากกว่าชาวฮินดู ในการพิสูจน์ข้อถกเถียงนี้ ผู้เขียนได้ทดลองให้นักศึกษา 13 คนที่เรียนวิชาประวัติศาสตร์เอเชียใต้สมัยใหม่ในปีการศึกษา 2556 ชมภาพยนตร์ดังกล่าว ได้ข้อสรุปว่า นักศึกษาจำนวน 11 คน มีความเห็นตรงกันว่า ภาพของชาวมุสลิมในเรื่องมีความรุนแรงกว่าในด้านการใช้กำลังทำร้ายผู้คน เผาอาคารสถานที่ต่างๆ ในการจลาจล บางคนยังเสนอว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ แสดงนัยยะว่าชุมชนมุสลิมในอินเดียมีแนวโน้มการใช้พฤติกรรมรุนแรงในการแก้ปัญหาในครอบครัวอีกด้วย
dc.description.abstractBombay (1995) was the first popular Indian film which tackled the issues of the Muslim-Hindu communal riots that took place in Bombay from December 1992 to January 1993 as the main theme. The film enjoyed popular and critical acclaims for its support of secularism and the reconciliation between the Muslim and the Hindu communities. However, some of the Indian and other foreign critics argued that the film unfairly depicted the vi-olence of the Muslim people more than that of the Hindus. To scrutinize this question, in 2013, 13 students from the class of the Modern History of South Asia were asked to review and crit-icize the film. As a result, 11 students commonly concluded that the image of Muslim violence as appeared in the film was more apparent through the use of physical force and the arson commit-ment during the riots. In addition, one of them even suggested that the film implied that there is a tendency among the Muslims in India to use violence to solve their household’s problems.en
dc.identifier.doihttps://doi.org/10.14456/thammasat-history.2014.9
dc.identifier.issn2408-0829
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/7806
dc.language.isoth
dc.publisherภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.subjectวามขัดแย้งทางชุมชนเชื้อชาติ
dc.subjectอินเดีย
dc.subjectการจลาจลทางเชื้อชาติในบอมเบย์
dc.subjectCommunal Conflicts
dc.subjectIndia
dc.subjectCommunal Riots In Bombay
dc.subject.isced0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.subject.oecd6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.titleบอมเบย์: ภาพยนตร์สะท้อนความรุนแรง ของชุมชนมุสลิมในการจลาจลในนครบอมเบย์ (ค.ศ.1992 -1993)?
dc.title.alternativeBombay: A Cinematic Vision of Muslim Violence in the Bombay Riots (1992-1993)?en
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID215
harrt.researchAreaประวัติศาสตร์
harrt.researchGroupประวัติศาสตร์
harrt.researchTheme.1ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
harrt.researchTheme.2ประวัติศาสตร์การเมือง
mods.location.urlhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/thammasat_history/article/view/78536/62924
oaire.citation.endPage160
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage141
oaire.citation.titleวารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์
oaire.citation.titleThammasat Journal of Historyen
oaire.citation.volume1
Files