Publication:
《论泰国华文长篇小说》

dc.contributor.authorLu, Bixia
dc.contributor.author陆, 碧霞cn
dc.contributor.authorศศิวิมล เรียนทับth
dc.date.accessioned2023-12-15T14:31:57Z
dc.date.available2023-12-15T14:31:57Z
dc.date.issued2011
dc.date.issuedBE2554
dc.description.abstract东南亚华文文学中,泰国华文文学比其它华文文学,较本土性。泰华文学既不同于中国文化,与泰国文化大同小异,是具有自己鲜明特点的,有着独特文化内涵和文化取向的文学艺术。在东南亚各国中,泰国华侨数最多,泰国华人与泰国华人最能融合社会。泰国是接受中华文化较早的国家,在泰国的第一代王朝,就有中华文化进入泰国。中国传统 文 化 与 泰 国 文 化 进 行 了 融 合 的 很 好 的 , 并 且 在 交 融 的 基 础 上 进 行了变革,由此而创造了新的文化形式——泰国华文文学。泰国的华文文学就是在这样的历史文化背景下,逐渐发展起来的。 泰华文学是中华文学的一个支流,在二十世纪二十年代末到三十年代初,泰华文学产生了三次潮流,这都使泰华文学取得了很大的成就,特别是在小说创作方面,也使泰华文学始终向着现实主义的创作道路前进的。 抗战胜利后,有许多的华文作品横空出世,例如,姚万达的《一个嚼槟榔的绅士》、陈仃的《三聘姑娘》、等。谭真的《座山城之家》等等。1956年,倪长游、沈逸文等人合作写成第一部长篇接龙小说《破毕舍歪传》,在丘陵主编的《曼谷公园》上发表。1964 年,亦非等9人联手写了一篇反映曼谷下层华族人民困苦生活的接龙小说——《风雨耀华力》。 此后,泰华文学自身不断地在改变、发展,也在不断地成熟。二十世纪八九十年代以后,泰华文学开始大规模地走出湄南河,融入世界华文文学大家族中,经过不断地磨合,总于泰华文学立足本地,获得了新的发展生机。这个时期的泰华文学本质上还是中国文学在泰国的延伸与发展,但由于作品植根于泰国的生活土壤,揉进了异域的文化基因,其风格特色已与启蒙时期的泰华文学略有差异。在此篇的论文主要研究目的是研究在泰国,泰华文学的发展历程及其本研究得出这样结论表达的思想与成就。 本论文是泰国华文长篇小说,在前人研究成果的基础上,中国华人的作品表达在泰国文化和社会的干涉。用文学的研究和在泰国,中国,人民生活能适应泰国社会以及人们的研究视野。 泰华长篇小说的研究中,作为这样一个普篇的研究结果却并不多,集团可能是由于在泰国华人很少,中文的能力也少。文学,在泰国似乎多数是一种短文学或躺在文学,而不是长篇小说。
dc.description.abstractนวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีความเป็นท้องถิ่นค่อนข้างโดดเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการสอดแทรกวัฒนธรรมไทยมีเอกลักษณ์เที่แฝงศิลปะทาง วัฒนธรรมไทยอย่างโดดเด่นด้วย ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยมีจำนวนมาก ในประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ชาวจีนโพ้นทะเลเหล่านั้น ปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้เป็นอย่างดี วัฒนธรรมของจีน เข้าสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยและเกิดการสร้างสรรค์วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยและมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเป็นสาขาหนึ่งในวรรณคดีจีน วรรณคดีจีนในประเทศ ไทยเกิดความนิยมสามระลอกและได้รับผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างสรรค์ผลงานประ พันธ์ทางด้านนวนิยายทุกประเภทจึงทำให้นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยเป็นผลงานที่ได้รับความนิยม มากยิ่งขึ้น หลังสงครามโลกครั้งที่สองสงบ มีผลงานการประพันธ์นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย ออกมา เช่น เหย่าว่านต๋า “สุภาพบุรุษเคี้ยวหมาก” เฉินติง “สาวสำเพ็ง” เป็นต้น ผลงานของถานเจิน “บ้านในเมืองภูเขา” เป็นต้น ปี 1956 หนีฉางโหย่ว และ เซิ่นอี้เหวินรวมเจ็ดคนร่วมกันเขียนนวนิยาย 接龙小说《破毕舍歪传》,ชิวหลิง เรียบเรียงเรื่อง《曼谷公园》ลงตีพิมพ์ ปี 1964 อี้เฝยกับ ผู้เขียนอีกเก้าคนร่วมกันเขียน นวนิยายที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในกรุงเทพ คือ เรื่อง เยาวราชในพายุฝน หลังจากนั้น นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องศตวรรษที่ 20 นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเริ่มมีการขยายกว้างและมีการรวมกลุ่ม นักประพันธ์ของชาวจีนโพ้นทะเล นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยพัฒนาไปในแนวทางใหม่ๆ เนื่องจากรากฐานผลงานกับพื้นฐานการดำเนินชีวิตในประเทศไทยผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่นจึงมีรูปแบบโดดเด่นขึ้น ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ศึกษากระบวนการพัฒนาทางด้านนวนิยายเรื่องยาวภาษาจีน ในประเทศไทยรวมถึงวิจัยสังคมในศตวรรษที่ 20 นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยส่วนใหญ่จะบอกถึง ความคิดของตัวละครและผลที่รับในตอนจบด้วย งานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยจากหนังสือที่ชาวจีนโพ้น ทะเลในประเทศไทยได้เขียนขึ้น มีการสอดแทรกวัฒนธรรมและสังคมไทยไว้ โดยใช้มุมมองของวรรณกร รมมาศึกษาค้นคว้าชีวิตความเป็นอยู่ของคนจีนในประเทศไทยว่าชาวจีนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม ไทยได้เป็นอย่างดี ผลสรุปของการศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย พบว่า มีการแพร่หลายของ นวนิยายเรื่องยาวไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยยังมีจำนวนน้อยและผู้ที่ มีความสามารถทางด้านภาษาจีนยังมีจำนวนน้อย นวนิยายภาษาจีนที่ปรากฏในประเทศไทยส่วนใหญ่จึง เป็นนวนิยายเรื่องสั้นหรือกลอนสั้นมากกว่าที่จะเป็นนวนิยายเรื่องยาวth
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3995
dc.language.isocn
dc.subjectวรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย
dc.subjectนวนิยายขนาดยาว
dc.subjectนวนิยายเรื่องยาวของชาวจีนโพ้นทะเล
dc.subjectสาวสำเพ็ง
dc.subjectเยาวราชในพายุฝน
dc.subject泰华文学
dc.subject长篇小说
dc.subject中国海外长篇小说;《三聘姑娘》;《风雨耀华力》
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.title《论泰国华文长篇小说》
dc.title.alternativeการวิเคราะห์เรื่อง "นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย"th
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID975
harrt.researchAreaวรรณกรรมจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1การวิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี
harrt.researchTheme.2วรรณกรรมจีนร่วมสมัย
mods.location.urlhttp://journal.hcu.ac.th/jn1128.htm
oaire.citation.issue28
oaire.citation.titleHCU Journal
oaire.citation.titleวารสาร มฉก.วิชาการth
oaire.citation.volume14
Files