Publication: รักในห้วงเวลาแห่งการเชื่อมต่ออันไม่สิ้นสุด: การศึกษาการออกแบบพื้นที่เมืองในภาพยนตร์เรื่อง Her ของ Spike Jonze
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2586-9736 (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารอักษรศาสตร์
Journal of Letters
Journal of Letters
Volume
44
Issue
2
Edition
Start Page
103
End Page
126
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
รักในห้วงเวลาแห่งการเชื่อมต่ออันไม่สิ้นสุด: การศึกษาการออกแบบพื้นที่เมืองในภาพยนตร์เรื่อง Her ของ Spike Jonze
Alternative Title(s)
Love in the Time of Endless Connectivity: A Study on Urban Design in Spike Jonze’s Her
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article explores the spatial relationship between the city of Los Angeles and the concept of love in Spike Jonze’s critically acclaimed 2013 science fiction film, Her. At first glance, Jonze’s film seems like a study on man and technology as its narrative follows the relationship between a male protagonist, Theodore Twombly, and a hyper-intelligent operating system (OS), Samantha, from the honeymoon period to their separation. A closer look at the film reveals a parallelism between overly connected urban design of the futuristic Los Angeles and the progression of the characters’ relationship in the plot structure. Lingering on the boundary of utopian/dystopian dimension of perfect/oppressive order, Jonze’s Los Angeles adopts a paradoxical spatial definition of being a connected space without any tangible contact. By reading the protagonists’ relationship in accordance with the film’s spatial design of Los Angeles through Alain Badiou’s framework of love as an embracement of risk and chance, Her exposes the fragility of technological connectivity in contemporary society.
บทความนี้สำรวจความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างเมืองลอสแองเจลิสกับแนวคิดเรื่องความรักในภาพยนตร์เรื่อง เฮอร์ ซึ่งเป็นภาพยนตร์ปี 2013 กำกับโดยสไปค์ โจนส์ ที่ได้รับเสียงชื่นชมจากนักวิจารณ์มากมาย หากมองผ่านๆ ภาพยนตร์เรื่องนี้ดูเหมือนจะเจาะประเด็นคนกับเทคโนโลยี เพราะเป็นเรื่องเล่าที่ตามติดความสัมพันธ์ระหว่างตัวเอกชายนามธีโอดอร์ ทวอมลีย์ กับระบบปฏิบัติการณ์ (OS) อัจฉริยะนามซาแมนธาตั้งแต่เริ่มคบกันจนถึงแยกทางกัน แต่เมื่อมองลึกลงไปอีก จะเห็นได้ถึงความเหมือนระหว่างผังเมืองลอสแองเจลิสในอนาคตที่เชื่อมต่อกันมากเกินควรกับการดำเนินไปของความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครในพล็อตเรื่อง ลอสแองเจลิสของสไปค์ โจนส์ นั้นอยู่กึ่งกลางระหว่างความเป็นยูโทเปียและดิสโทเปียด้วยระบบที่ทั้งสมบูรณ์แบบและกดขี่เห็นได้จากภาพพื้นที่อันย้อนแย้งเนื่องจากมีการเชื่อมต่อแต่กลับไม่มีการสัมผัสที่จับต้องได้ เมื่ออ่านความสัมพันธ์ของตัวละครขนานไปกับการออกแบบพื้นที่ลอสแองเจลิสในภาพยนตร์ผ่านกรอบความคิดของ อแลง บาดิยู ที่มองว่าความรักคือการโอบรับความเสี่ยงและความไม่แน่นอน ก็จะเห็นได้ว่า เฮอร์ นั้นเผยความเปราะบางของการเชื่อมต่อทางเทคโนโลยีในสังคมร่วมสมัย
บทความนี้สำรวจความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างเมืองลอสแองเจลิสกับแนวคิดเรื่องความรักในภาพยนตร์เรื่อง เฮอร์ ซึ่งเป็นภาพยนตร์ปี 2013 กำกับโดยสไปค์ โจนส์ ที่ได้รับเสียงชื่นชมจากนักวิจารณ์มากมาย หากมองผ่านๆ ภาพยนตร์เรื่องนี้ดูเหมือนจะเจาะประเด็นคนกับเทคโนโลยี เพราะเป็นเรื่องเล่าที่ตามติดความสัมพันธ์ระหว่างตัวเอกชายนามธีโอดอร์ ทวอมลีย์ กับระบบปฏิบัติการณ์ (OS) อัจฉริยะนามซาแมนธาตั้งแต่เริ่มคบกันจนถึงแยกทางกัน แต่เมื่อมองลึกลงไปอีก จะเห็นได้ถึงความเหมือนระหว่างผังเมืองลอสแองเจลิสในอนาคตที่เชื่อมต่อกันมากเกินควรกับการดำเนินไปของความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครในพล็อตเรื่อง ลอสแองเจลิสของสไปค์ โจนส์ นั้นอยู่กึ่งกลางระหว่างความเป็นยูโทเปียและดิสโทเปียด้วยระบบที่ทั้งสมบูรณ์แบบและกดขี่เห็นได้จากภาพพื้นที่อันย้อนแย้งเนื่องจากมีการเชื่อมต่อแต่กลับไม่มีการสัมผัสที่จับต้องได้ เมื่ออ่านความสัมพันธ์ของตัวละครขนานไปกับการออกแบบพื้นที่ลอสแองเจลิสในภาพยนตร์ผ่านกรอบความคิดของ อแลง บาดิยู ที่มองว่าความรักคือการโอบรับความเสี่ยงและความไม่แน่นอน ก็จะเห็นได้ว่า เฮอร์ นั้นเผยความเปราะบางของการเชื่อมต่อทางเทคโนโลยีในสังคมร่วมสมัย