Publication:
中国文化思想在泰国传播渠道研究以翻译作品与篇章为例

dc.contributor.authorLin, Raomei
dc.contributor.author林, 饶美cn
dc.contributor.authorศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรมth
dc.date.accessioned2023-12-15T14:35:20Z
dc.date.available2023-12-15T14:35:20Z
dc.date.issued2017
dc.date.issuedBE2560
dc.description.abstract中国文化思想在泰国得以传播的因素主要有两点:一是移民到泰国的华人华侨,二是在泰国传播的中国作品,尤其是曼谷拉玛一世王统治时期出现的中泰翻译作品。起初,几乎没有中泰双语非常好的翻译者,为此泰国朝廷便使用了很特别的方法来解决。首先让精通汉语的华人把作品翻译成简单的泰文,然后再让泰国诗人写成文言文。后来,随着西方文化逐渐传入泰国,中国文化思想的传播也慢慢受到影响,尤其是泰中两国关系经历曲折时,与中国有关的一切都受到了巨大影响。如今,泰中两国关系恢复正常,而且比以往更亲密、更频繁,目前与中国有关的一切在泰国都很受欢迎,这是中国文化思想在泰国传播的重要因素。
dc.description.abstractThere are mainly two factors for Chinese cultural thought to spread in Thailand, one is the Chinese immigrants, and the other is the dissemination of Chinese works, especially the translated Chinese works that appeared during the reign Bangkok Rama I. There was almost no translator that was good at both Chinese and Thai, therefore the Thai court used a very specific way to solve this problem. First, they let Chinese who were proficient in Chinese to translate the works into simple Thai, and then let Thai people to write into Thai rhetoric. Later, when Western culture passed into Thailand gradually, the spread of Chinese cultural thought was slowly affected. Especially when twists and turns occurred between Thailand and China, all things that related to China were been significantly affected. Nowadays, Thailand-China relations are back to normal, and more intimate and frequent than ever before, everything that related to China is very popular in Thailand currently, which is an important factor for the spread of Chinese cultural thought in Thailand.en
dc.description.abstractการเผยแพร่ปรัชญาและวัฒนธรรมจีนในประเทศไทย มีปัจจัยสำคัญมาจากคนจีนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยและงานเขียนที่เกิดในสมัยต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานแปลจีน-ไทยที่ปรากฏขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งแรกเริ่มหาผู้ที่เชี่ยวชาญทั้งภาษาจีนและภาษาไทยในคนๆ เดียวกันได้ยากมาก จึงจ าต้องใช้วิธีการให้ชาวจีนที่รู้ภาษาไทยแปลจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยอย่างง่ายๆ ก่อน จากนั้นให้กวีปรับเป็นภาษาไทยที่สละสลวยอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์การแปลจีน-ไทยในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ต่อมาเมื่อวัฒนธรรมทางตะวันตกเริ่มเข้ามามีอิทธิพลในไทย ส่งผลให้ความนิยมที่มีต่องานวรรณกรรมจีนลดน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อความสัมพันธ์ไทย-จีนอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อก็ส่งผลกระทบต่องานเขียนที่เกี่ยวกับจีนโดยภาพรวมในประเทศไทย ทว่าในยุคปัจจุบันที่ความสัมพันธ์ไทย-จีนกลับสู่ภาวะปกติ ทำให้สิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเทศจีน ทั้งด้านภาษา วัฒนธรรมตลอดจนงานเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวกับจีนกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นปัจจัยสำคัญในการเผยแพร่ปรัชญาและวัฒนธรรมจีนในประเทศไทยth
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/4207
dc.language.isocn
dc.subjectประเทศไทย
dc.subjectปรัชญาและวัฒนธรรมจีน
dc.subjectงานวรรณกรรมจีนในไทย
dc.subjectการเผยแพร่ปรัชญาและวัฒนธรรมจีนในไทย
dc.subjectThailand
dc.subjectChinese Cultural Thought
dc.subjectChinese Works In Thailand
dc.subjectTransmission Of Chinese Cultural Thought In Thailand
dc.subject泰国
dc.subject中国文化思想
dc.subject在泰国的中国作品
dc.subject中国文化思想在泰国的传播
dc.subject.isced0314 สังคมวิทยาและวัฒนธรรมศึกษา
dc.subject.oecd6.4 ศิลปะ
dc.title中国文化思想在泰国传播渠道研究以翻译作品与篇章为例
dc.title.alternativeThe Communication Channel of Chinese Cultural Thought in Thailand - Taking Translation Works and Chapters as Examplesen
dc.title.alternativeช่องทางการเผยแพร่ปรัชญาและวัฒนธรรมจีนในประเทศไทย: ศึกษาจากงานแปลและผลงานเขียนth
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID645
harrt.researchAreaวัฒนธรรมจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1การสืบทอด เผยแพร่และการประยุกต์ใช้
harrt.researchTheme.2ภาษา
mods.location.urlhttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/109618
oaire.citation.endPage339
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage295
oaire.citation.title中國學研究期刊
oaire.citation.titleChinese Studies Journalen
oaire.citation.titleวารสารจีนศึกษาth
oaire.citation.volume10
Files