Publication: สมมุติว่ามี “ล้านนา”: พื้นที่ อำนาจ-ความรู้ และมรดกของอาณานิคมสยาม
dc.contributor.author | ทินกฤต สิรีรัตน์ | |
dc.contributor.author | Tinakrit Sireerat | en |
dc.contributor.editor | ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ | |
dc.contributor.editor | Tamthai Dilokvidhyarat | en |
dc.coverage.temporal | 1873-2021 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:19:19Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:19:19Z | |
dc.date.issued | 2021 | |
dc.date.issuedBE | 2564 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจ-ความรู้ การสร้างพื้นที่ และอิทธิพลของระบอบอาณานิคมของสยามที่มีผลต่อการก่อตัวของพื้นที่สมมุติที่เรียกกันว่า “ล้านนา” กระบวนการดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะการสร้างพื้นที่สมมุติ (พ.ศ. 2416 - 2442) ระยะการเชื่อมโยงพื้นที่สมมุติเข้ากับชื่อ “ลานนาไทย” (พ.ศ. 2440 - 2490) ระยะการผลิตซ้ำชุดความรู้ต่าง ๆ ภายใต้กรอบของ “ลานนาไทยคดี” (พ.ศ. 2490 - 2530) และระยะการโต้กลับมรดกอาณานิคมสยาม (พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน) ผู้เขียนต้องการเสนอว่าอำนาจ-ความรู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนการรับรู้จาก “ล้านนาโดยสมมุติ” ให้กลายเป็น “ล้านนา (ที่เชื่อกันว่า) มีอยู่จริงในประวัติศาสตร์” และชี้ให้เห็นว่าคำว่า “ล้านนา” เป็นเพียงตัวเลือกหนึ่งในการกำหนดพื้นที่และนำเสนอประวัติศาสตร์ของกลุ่มนครรัฐทางเหนือ | |
dc.description.abstract | This article investigates the relationship between power-knowledge, the production of space, and the legacy of Siam’s colonialism, which has shaped the spatial imagination of “Lanna.”The process can be divided into 4 periods: the spatial imagination (1873-1899 A.D.),the designation of this spatial imagination as “Lanna-thai” (1897-1947A.D.), the reproduction of this spatial imagination within the academic field of “Lanna-thai khadi” (1947-1987A.D.), and the postcolonial reflection of Siam-Lanna relationship (1987A.D.-present).I argue that power-knowledge hasplayed an indispensable role in transforming Lanna from a spatial imagination into a historical reality. I further suggest that “Lanna”should be treated as just one of the many options to represent the northern states in historiography. | en |
dc.identifier.issn | 2672-9903 | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/8071 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
dc.subject | ล้านนา | |
dc.subject | ล้านนาไทย | |
dc.subject | พื้นที่ | |
dc.subject | อำนาจ-ความรู้ | |
dc.subject | ประวัติศาสตร์นิพนธ์หลังอาณานิคม | |
dc.subject | Lanna | |
dc.subject | Lanna-Thai | |
dc.subject | Space | |
dc.subject | Power-Knowledge | |
dc.subject | Postcolonial Historiography | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | สมมุติว่ามี “ล้านนา”: พื้นที่ อำนาจ-ความรู้ และมรดกของอาณานิคมสยาม | |
dc.title.alternative | The Imagination and Realization of “Lanna”:Space, Power-Knowledge, and Siam’s Colonial Legacy | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 286 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์ความคิดและภูมิปัญญา | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/thammasat_history/article/view/252658/172811 | |
oaire.citation.endPage | 202 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 169 | |
oaire.citation.title | วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Thammasat Journal of History | en |
oaire.citation.volume | 8 |