Publication: ประติมานวิทยาและการกำหนดอายุสมัยของแผ่นไม้จำหลักประดับมิห์รอบของมัสยิดต้นสน
dc.contributor.author | มนวัธน์ พรหมรัตน์ | |
dc.contributor.author | Manawat Promrat | en |
dc.contributor.editor | อรอนงค์ ทิพย์พิมล | |
dc.contributor.editor | Onanong Thippimol | en |
dc.coverage.temporal | 1824-1851 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:14:46Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:14:46Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของแผ่นไม้จำหลักประดับมิห์รอบของมัสยิดต้นสนด้วยหลักประติมานวิทยาและวิเคราะห์รูปแบบทางศิลปะเพื่อกำหนดอายุสมัย เนื่องจากแผ่นไม้จำหลักดังกล่าวยังคงไม่มีผู้ใดทราบประวัติความเป็นมาที่ชัดเจน ผลจากการศึกษาประติมานวิทยาพบว่าแผ่นไม้ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงมโนทัศน์เรื่องจักรวาลวิทยาของอิสลามที่เน้นความเป็นเอกภาพและเดชานุภาพของพระเจ้าและความเป็นศาสนทูตของมุฮัมมัดเป็นศูนย์กลาง นอกจากนี้ยังบรรจุเอาสัญลักษณ์และความหมายของหลักการอิสลามไว้อย่างครบถ้วนทั้งหลักศรัทธาและหลักปฏิบัติจากการศึกษารูปแบบของแผ่นไม้เพื่อกำหนดอายุสมัยพบว่ามีระบบการจัดวางจักรวาลวิทยาแบบเดียวกับลายมงคลบนรอยพระพุทธบาทสมัยต้นรัตนโกสินทร์ช่วงรัชกาลที่ 3 เมื่อวิเคราะห์ร่วมกับหลักฐานทั้งหลักฐานทางประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ศิลปะ จึงสรุปได้ว่าศิลปกรรมบนแผ่นไม้ดังกล่าวสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นพร้อมกับการสร้างมัสยิดหลังใหม่จากเดิมที่เป็นไม้มาเป็น อิฐราวสมัยรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 3 | |
dc.description.abstract | This article aims | en |
dc.description.abstract | 1) to study the meaning of the carved wooden mihrabin Tonson mosque by iconographic analysis, and 2) to date this mirhab through its form of art. The study reveals that the carved wooden mihrab reflects the concept of Islamic cosmology which positioned the oneness and the power of Allah, and the prophethood of Muhammad at the center. Moreover, it comprises many symbols and meanings of 5 Pillars of Islam and 6 Articles of Faith. According to the similar form of art with the Buddha’s footprints in the reign of King Rama III, this carved wooden mirhab is the art of early Rattanakosin Period. It might be invented at the time of the mosque reconstruction between the reigns of King Rama II to King Rama III. | en |
dc.identifier.doi | https://doi.org/10.14456/thammasat-history.2018.6 | |
dc.identifier.issn | 2408-0829 | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/7816 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
dc.subject | มิห์รอบ | |
dc.subject | มัสยิดต้นสน | |
dc.subject | ศิลปะอิสลาม | |
dc.subject | Mirhab | |
dc.subject | Tonson Mosque | |
dc.subject | Islamic Art | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | ประติมานวิทยาและการกำหนดอายุสมัยของแผ่นไม้จำหลักประดับมิห์รอบของมัสยิดต้นสน | |
dc.title.alternative | The Iconography and Historical Dating of Carved Wooden Mihrab at Tonson Mosque | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 249 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์ศิลปะ | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/thammasat_history/article/view/136580/101832 | |
oaire.citation.endPage | 335 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 283 | |
oaire.citation.title | วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Thammasat Journal of History | en |
oaire.citation.volume | 5 |