Publication:
อารมณ์ปรารถนากับจุดยืนแห่งอุดมการณ์ทางเพศ: กลวิธีการแปลบทสังวาสในนวนิยายเรื่อง เซี่ยงไฮ้เบบี้

dc.contributor.authorวุฒิพงษ์ ประพันธมิตร
dc.contributor.authorกนกพร นุ่มทอง
dc.contributor.authorPrapantamit, Wuttipongen
dc.contributor.authorNumtong, Kanokpornen
dc.coverage.temporal1999-1999
dc.date.accessioned2023-12-15T14:21:41Z
dc.date.available2023-12-15T14:21:41Z
dc.date.issued2022
dc.date.issuedBE2565
dc.description.abstractบทสังวาสในวรรณกรรม ไม่เพียงเป็นเครื่องมือที่สะท้อนอารมณ์ปรารถนาและสุนทรียศาสตร์ แห่งกามรสของมนุษย์เท่านั้น หากยังแฝงไว้ซึ่งจุดยืนแห่งอุดมการณ์ทางเพศของผู้ประพันธ์อีกด้วย เมื่อวรรณกรรมนั้นได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ เพศสภาพและอุดมการณ์ของผู้แปลยังได้เข้ามามี ส่วนต่อรองกับพื้นที่การสร้างความชอบธรรมต่อจุดยืนดังกล่าวผ่านส านวนแปลเช่นกัน บทความวิจัยนี้ มุ่งศึกษาการแสดงจุดยืนแห่งอุดมการณ์ทางเพศ และการดัดแปลงส านวนต้นฉบับของผู้แปลผ่านกลวิธี การแปลบทสังวาส จากนวนิยายต้นฉบับเรื่อง เซี่ยงไฮ้เบบี้ของเว่ยฮุ่ย ร่วมกับบทแปลฉบับภาษาอังกฤษ โดยบรูซ ฮูมส์ ซึ่งแปลจากต้นฉบับภาษาจีน และบทแปลฉบับภาษาไทยโดยค า ผกา ซึ่งแปลมาจากส านวน ฉบับภาษาอังกฤษของบรูซ ฮูมส์อีกทอดหนึ่ง จากการศึกษาพบว่า ผู้แปลมีการดัดแปลงส านวนต้นฉบับผ่าน กลวิธีการตัด การแทนที่ การแปลบางส่วน การดัดแปลง การแปลเติมและการเกลื่อนค า ผลการวิจัย ยังสะท้อนให้เห็นว่า การเลือกดัดแปลงตัวบทของผู้แปล ปัจจัยหนึ่งอาจมาจากเพศและอุดมการณ์ของ ผู้แปลซึ่งควบคุมกลไกการสื่อความหมาย การตีความในบทสังวาส ทั้งยังกลายเป็นพื้นที่สร้างตัวตน การกดทับระหว่างบุรุษและสตรีเพศผ่านความงามของภาษาที่สื่ออารมณ์ปรารถนาของตัวละคร ขับเอา รสนิยม การร่วมรักและสุนทรีแห่งท่วงท่าออกมาให้เห็นอย่างเร่าร้อนและลุ่มลึก
dc.description.abstractIn literature, erotic motives represented sexual desire and aesthetics of human sexual arousal and revealed a writer’s gender ideology. Correspondingly, translators’ gender identities and ideology were also accordant with these components, for they arranged justice for their identities through their translation techniques when the novel was translated into foreign languages. The research objective was to study translators’ gender ideology and connotation of their translation strategies for erotic motives in Chinese literature named Shanghai Baby by Wei Hui. The text would be compared with an English-translated version by Bruce Humes, a directly translated version from Chinese, and a Thai translation by Kam Phaka, translated from English. The study found that the translators purposely connote their viewpoint through various translation strategies, such as omission, substitution, partial translation, adjustment, addition, and euphemism. Consequently, the study depicted that the translators’ genders were the relevant factors for communicating the erotic motives to readers. Also, this feature functioned as a space to form identity and subdue each other between males and females through language aesthetics, which passionately and intensely portrayed the characters’ desire for their sexual intercourse movement.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3351
dc.language.isoth
dc.subjectอุดมการณ์ทางเพศ
dc.subjectกลวิธีการแปล
dc.subjectบทสังวาส
dc.subjectเซี่ยงไฮ้เบบี้
dc.subjectเว่ยฮุ่ย
dc.subjectGender Ideology
dc.subjectTranslation Strategies
dc.subjectErotic Motives
dc.subjectShanghai Baby
dc.subjectWei Hui
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleอารมณ์ปรารถนากับจุดยืนแห่งอุดมการณ์ทางเพศ: กลวิธีการแปลบทสังวาสในนวนิยายเรื่อง เซี่ยงไฮ้เบบี้
dc.title.alternativeSexual Desire and Gender Ideology: Translation Strategies of Erotic Motives in "Shanghai Baby"en
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID1044
harrt.researchAreaการแปลภาษาจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1การแปลวรรณกรรม
harrt.researchTheme.2วรรณกรรมจีนร่วมสมัย
mods.location.urlhttp://tujournals.tu.ac.th/thammasatjournal/detail.aspx?BookID=7120
oaire.citation.endPage67
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage44
oaire.citation.titleวารสารธรรมศาสตร์
oaire.citation.titleThammasat University Journalen
oaire.citation.volume41
Files